กลับ
ภาษาอีสานคำว่า
แมงบ้งขน
ความหมาย:
บุ้ง, หนอนผีเสื้อ, ตัวหนอนของแมลง มักจะใช้เรียกหนอนที่มีขนปกคลุม บ้ง, บ้งขน, แมงบ้ง, หนอนบ้ง ก็เรียก
คำถัดไป:
แมงอีนูน
- แมลงนูน แมลงนูนเขียวเป็นด้วงที่มีสีสันสวยงามเป็นที่สนใจแก่ผู้พบเห็น อาหารตัวเต็มวัยได้แก่ใบไม้พืชในวงศ์ ตะแบก ( Lythraceae ) แต่หากนำมาเพาะเลี้ยงสามารถให้กล้วยเป็นอาหาร เขตแพร่กระจาย ตั้งแต่อินเดีย พม่า ลาว กัมพูชา และทั่วทุกภาคของประเทศไทย โดยจะมีระยะการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ 4 ระยะ คือ ระยะไข่ ระยะตัวอ่อนหรือหนอน ระยะดักแด้ ระยะตัวเต็มวัย ตัวหนอนมีขาสามคู่ ไม่มีขาเทียม ตัวเต็มวัยมีสีเขียววาว มีสวนขอบของส่วนหัว ลำตัวและปีกเป็นสีทองแดงด้านใต้ท้องและส่วนขามีสีทองแดง มีระยางค์สัมผัสที่ส่วนหัว 2 คู่ มีกราม 2 คู่ และหนวด 1 คู่ แบบใบไม้ lamellate แมลงนูนเขียวยังเป็นแมลงที่ได้รับความสนใจของผู้เลี้ยงแมลงในกลุ่มด้วงจากต่างประเทศ และมีการนำแมลงนูนเขียวมาบริโภคเป็นอาหาร แมงกินูน, แมงจินูน ก็เรียก
แม่นอยู่บ้อ
- ใช่จริงหรือ
แม่มาน
- สตรีที่กำลังตั้งครรภ์, หญิงตั้งครรถ์
แม่นบ้อ
- จริงหรือ, ใช่หรือ
แม่เถ้า
- แม่ยาย